14/10/56

๙.ตารางแสดงชื่อและลักษณะของพยัญชนะ

ตารางที่ ๒ แสดงชื่อและลักษณะของพยัญชนะ


พยัญชนะ
เสียง
ออกเสียง
ฐาน
กรณ์
ปยตนะ
กวรรค
อโฆสะ
สิถิละ
กัณฐะ
กัณฐะ
ผุฏฐะ
อโฆสะ
ธนิตะ
กัณฐะ
กัณฐะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
สิถิละ
กัณฐะ
กัณฐะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
ธนิตะ
กัณฐะ
กัณฐะ
ผุฏฐะ
วิมุตตะหรือนาสิกะ
กัณฐนาสิก
กัณฐะ
ผุฏฐะ
จวรรค
อโฆสะ
สิถิละ
ตาลุ
ชิวหามัชฌะ
ผุฏฐะ
อโฆสะ
ธนิตะ
ตาลุ
ชิวหามัชฌะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
สิถิละ
ตาลุ
ชิวหามัชฌะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
ธนิตะ
ตาลุ
ชิวหามัชฌะ
ผุฏฐะ
วิมุตตะหรือนาสิกะ
ตาลุนาสิก
ชิวหามัชฌะ
ผุฏฐะ
ฏวรรค
อโฆสะ
สิถิละ
มุทธะ
ชิวโหปัคคะ
ผุฏฐะ
อโฆสะ
ธนิตะ
มุทธะ
ชิวโหปัคคะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
สิถิละ
มุทธะ
ชิวโหปัคคะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
ธนิตะ
มุทธะ
ชิวโหปัคคะ
ผุฏฐะ
วิมุตตะหรือนาสิกะ
มุทธนาสิกะ
ชิวโหปัคคะ
ผุฏฐะ
ตวรรค
อโฆสะ
สิถิละ
ทันตะ
ชิวหัคคะ
ผุฏฐะ
อโฆสะ
ธนิตะ
ทันตะ
ชิวหัคคะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
สิถิละ
ทันตะ
ชิวหัคคะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
ธนิตะ
ทันตะ
ชิวหัคคะ
ผุฏฐะ
วิมุตตะหรือนาสิกะ
ทันต-นาสิกะ
ชิวหัคคะ
ผุฏฐะ
ปวรรค
อโฆสะ
สิถิละ
โอฏฐะ
โอฏฐะ
ผุฏฐะ
อโฆสะ
ธนิตะ
โอฏฐะ
โอฏฐะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
สิถิละ
โอฏฐะ
โอฏฐะ
ผุฏฐะ
โฆสะ
ธนิตะ
โอฏฐะ
โอฏฐะ
ผุฏฐะ
วิมุตตะหรือนาสิกะ
โอฏฐนาสิกะ
โอฏฐะ
ผุฏฐะ
พยัญชนะอวรรค
โฆสะ
-
ตาลุ
ชิวหามัชฌะ
อีสังผุฏฐะ
โฆสะ
-
มุทธะ
ชิวโหปัคคะ
อีสังผุฏฐะ
โฆสะ
-
มุทธะ
ชิวหัคคะ
อีสังผุฏฐะ
โฆสะ
-
ทันตโอฏฐะ
ทันตะ
อีสังผุฏฐะ
อโฆสะ
-
ทันตะ
ชิวหัคคะ
วิวฏะ
โฆสะ
-
กัณฐะ
กัณฐะ
วิวฏะ
โฆสะ
-
มุทธะ
ชิวโหปัคคะ
อีสังผุฏฐะ
อํ
โฆสาโฆสวิมุตตะ
นาสิกะ
นาสิกะ
-


 วิธีสังเกตโดยใช้ตารางที่ ๒
 ๑.  เริ่มตั้งแต่ ก ก่อน จากตารางนี้แสดงให้เห็นว่า ก เป็นเสียงอโฆสะ (เสียงไม่ก้อง) ต้องออกเสียงแบบสิถิละ  (หย่อน) คือ เบาหน่อย เป็นอักษรประเภทกัณฐชะ (เกิดที่คอ) และมีกัณฐะเป็นกรณ์ (คอเป็นอวัยวะช่วยทำเสียง) ใช้ความพยายามให้กรณ์และฐานกระทบกันแรง ๆ จึงมีปยตนะระดับผุฏฐะ.
  ๒. อักษร ข เป็นอโฆสะ เหมือนกัน แต่ต้องออกเสียงแบบธนิตะ (ตึง) คือดังหน่อย  นอกนั้น เหมือนกับ อักษร ก ดังนั้น ข จึงออกเสียงดังกว่า ก เล็กน้อยเพราะเป็นธนิตะ.
๓. อักษร ค เป็นโฆสะ เสียงก้อง แต่ออกเสียงแบบสิถิละ นอกนั้นก็เหมือนกับก และ ข ดังนั้น จึงออกเสียงดังก้องกว่า ก และ ข อีกเล็กน้อย.
๔. อักษร ฆ เป็นโฆสะ แต่ออกเสียงแบบธนิตะ นอกนั้นก็เหมือนกับ ก ข และ ค ดังนั้น จึงออกเสียงดังก้องกว่า ก ข และค อีกเล็กน้อย.
๕ อักษร ง เป็นพยัญชนะที่สุดวรรค ไม่จัดเป็นโฆสะและอโฆสะ อีกทั้งไม่เป็นทั้งธนิตะและสิถิละ ดังนั้นจึงเรียกว่า วิมุตตะ และก็เพราะเกิดในฐานทั้งสองคือทั้งคอของตนและนาสิก (จมูก) มีคอของตนเป็นกรณ์ ดังนั้น จึงเรียกว่า นาสิก เวลาออกเสียงให้เสียงขึ้นทางจมูกเล็กน้อย
๖. ในพยัญชนวรรคที่เหลืออีก ๔ และพยัญชนะอวรรคก็มีนัยเช่นนี้ เปลี่ยนเพียงแต่ฐาน กรณ์ และปยตนะเท่านั้น.
๗. แม้สระ ก็อาศัยนัยนี้เช่นกัน.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น