14/10/56

๘. ตารางแสดงชื่อและลักษระของสระ

๒๒. เพื่อเป็นการกำหนดได้ง่ายและสรุปเรื่องราวของการออกเสียงอักษรทั้งหมด จึงควรพิจารณาตารางนี้ด้วย
ตารางที่ ๑ แสดงชื่อและลักษณะของสระ

สระ
เสียง
น้ำหนัก
ฐาน
กรณ์
ปยตนะ
สวัณณะ
อวรรณะ
รัสสะ
ลหุ
กัณฐะ
กัณฐะ
สังวุตะ
อา
ทีฆะ
ครุ
กัณฐะ
กัณฐะ
วิวฏะ
อิวรรณะ
อิ
รัสสะ
ลหุ
ตาลุ
ชิวหมัชฌะ
วิวฏะ
อี
ทีฆะ
ครุ
ตาลุ
ชิวหมัชฌะ
วิวฏะ
อุวรรณะ
อุ
รัสสะ
ลหุ
โอฏฐะ
โอฏฐะ
วิวฏะ
อู
ทีฆะ
ครุ
โอฏฐะ
โอฏฐะ
วิวฏะ
อสวัณณะ
สังยุตสระ
เอ
ทีฆะ
ครุ
กัณฐตาลุ
กัณฐะ
วิวฏะ
โอ
ทีฆะ
ครุ
กัณฐโอฏฐะ
กัณฐะ
วิวฏะ

อ อิ อุ ที่มีสังโยคและนิคคหิตอยู่หลัง
รัสสะ
ครุ
เหมือน อ, อิ, อุ
เหมือน อ, อิ, อุ
เหมือน อ, อิ, อุ

เอ โอ ที่มีสังโยคอยู่หลัง
รัสสะ
ลหุ*
-**
-**
-**
* น่าจะเป็นลหุ เพราะอาศัยคำว่า ทีฆะล้วน ที่ไม่มีสังโยคเป็นครุ   **คิดว่า น่าจะเหมือนกับเอ โอ  แต่ไม่แน่ใจว่าจะเป็นอย่างไรแน่ เพราะไม่มีตำราเล่มไหนระบุไว้อย่างชัดเจน




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น