๒๒. เพื่อเป็นการกำหนดได้ง่ายและสรุปเรื่องราวของการออกเสียงอักษรทั้งหมด
จึงควรพิจารณาตารางนี้ด้วย
ตารางที่ ๑
แสดงชื่อและลักษณะของสระ
สระ
|
เสียง
|
น้ำหนัก
|
ฐาน
|
กรณ์
|
ปยตนะ
|
สวัณณะ
|
อวรรณะ
|
อ
|
รัสสะ
|
ลหุ
|
กัณฐะ
|
กัณฐะ
|
สังวุตะ
|
อา
|
ทีฆะ
|
ครุ
|
กัณฐะ
|
กัณฐะ
|
วิวฏะ
|
อิวรรณะ
|
อิ
|
รัสสะ
|
ลหุ
|
ตาลุ
|
ชิวหมัชฌะ
|
วิวฏะ
|
อี
|
ทีฆะ
|
ครุ
|
ตาลุ
|
ชิวหมัชฌะ
|
วิวฏะ
|
อุวรรณะ
|
อุ
|
รัสสะ
|
ลหุ
|
โอฏฐะ
|
โอฏฐะ
|
วิวฏะ
|
อู
|
ทีฆะ
|
ครุ
|
โอฏฐะ
|
โอฏฐะ
|
วิวฏะ
|
อสวัณณะ
|
สังยุตสระ
|
เอ
|
ทีฆะ
|
ครุ
|
กัณฐตาลุ
|
กัณฐะ
|
วิวฏะ
|
โอ
|
ทีฆะ
|
ครุ
|
กัณฐโอฏฐะ
|
กัณฐะ
|
วิวฏะ
|
|
อ อิ อุ ที่มีสังโยคและนิคคหิตอยู่หลัง
|
รัสสะ
|
ครุ
|
เหมือน อ, อิ,
อุ
|
เหมือน อ, อิ,
อุ
|
เหมือน อ, อิ,
อุ
|
|
เอ โอ ที่มีสังโยคอยู่หลัง
|
รัสสะ
|
ลหุ*
|
-**
|
-**
|
-**
|
* น่าจะเป็นลหุ เพราะอาศัยคำว่า
ทีฆะล้วน ที่ไม่มีสังโยคเป็นครุ
**คิดว่า น่าจะเหมือนกับเอ โอ
แต่ไม่แน่ใจว่าจะเป็นอย่างไรแน่ เพราะไม่มีตำราเล่มไหนระบุไว้อย่างชัดเจน
|
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น